แบบวัดพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
โดยจิตสมร วุฒิพงษ์ มีข้อคำถามจำนวน 46 ข้อ ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ
1. การพัฒนาการรู้จักตนเอง 9 ข้อ
2. การติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 4 ข้อ
3. การเผชิญปัญหา 10 ข้อ
4. การมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 6 ข้อ
5. การปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการ 4 ข้อ
6. การปฏิบัติกิจกรรม เพื่อความสงบสุขและเข้าใจชีวิต 6 ข้อ
7. การดูแลสุขภาพกายโดยทั่วไป 7 ข้อ
เป็นคำถามมีค่า 4 ระดับ การให้คะแนนดังนี้
คะแนน
พฤติกรรมนั้นทำเป็นประจำ มีค่าเท่ากับ 4
พฤติกรรมนั้นทำบ่อยครั้ง มีค่าเท่ากับ 3
พฤติกรรมนั้นทำบางครั้ง มีค่าเท่ากับ 2
พฤติกรรมนั้นทำเกือบทา หรือไม่เคยทำเลย มีค่าเท่ากับ 1
การแปลผลพฤติกรรมการดูแลตนเอง กา หนดเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับต่า ระดับกลาง และระดับสูง ดังนี้
พฤติกรรมการดูแลตนเอง ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน
ระดับต่ำ ระดับกลาง ระดับสูง
ด้านพัฒนาการรู้จักตนเอง 9-18 19-27 28-36
ด้านการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 4-8 9-12 13-16
ด้านการเผชิญปัญหา 10-20 21-30 31-40
ด้านการมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 6-12 7-18 19-24
ด้านการปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการ 4-8 9-12 13-16
ด้านการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อความสงบสุขและเข้าใจชีวิต 6-12 7-18 19-24
ด้านการดูแลสุขภาพกายโดยทั่วไป 7-14 8-21 22-28
พฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม 46-92 93-138 139-184
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
1. การหาค่าความตรง ( Validity) ผู้วิจัยนา แบบสอบถามต้นฉบับหาความตรงตามเนื้อหา (Content
Validity) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จา นวน 3 คน ทา การตรวจสอบความครอบคลุมของข้อคา ถามตามเนื้อหา การใช้ภาษา และการเข้าใจที่ตรงกัน
2. การหาค่าความเชื่อมั่น ( Reliability) ผู้วิจัยนา แบบสอบถามไปทา การทดสอบกับประชากรในกลุ่มชมรมผู้สูงอายุที่ใกล้เคียงกับกลุ่มประชากรที่ต้องการศึกษา จา นวน 40 คน แล้วนา แบบสอบถาม
มาทา การวิเคราะห์ เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟา ของครอนบาค
(Cronbach’s alpha coefficient)