แบบวัดความเครียดสำหรับคนไทย (Thai stress test, TST)
ซึ่งพัฒนาโดย สุชีรา ภัทรายุตวรรตน์ และคณะ, 2543 (9)
การให้คะแนน ให้คะแนนเป็นช่วง 0,1,3
กลุ่มที่ 1 ข้อคำถามที่เป็นภาวะทางด้านลบ ได้แก่ ข้อ 1-12
รู้สึกบ่อยๆ เท่ากับ 3 คะแนน
รู้สึกเป็นครั้งคราวเท่ากับ 1 คะแนน
ไม่เคยรู้สึกเลย เท่ากับ 0 คะแนน
กลุ่มที่ 2 ข้อคำถามที่เป็นภาวะทางด้านบวก ได้แก่ข้อ 13-24
รู้สึกบ่อยๆ เท่ากับ 0 คะแนน
รู้สึกเป็นครั้งคราวเท่ากับ 1 คะแนน
ไม่เคยรู้สึกเลย เท่ากับ 3 คะแนน
รวมคะแนนในข้อ 1-12 และข้อ 13-24
ตารางเมตริก
คะแนนรวมด้านลบ (ข้อ1-12)
|
คะแนนรวมด้านบวก (ข้อ13-24)
|
|
12-36
|
9-11
|
6-8
|
3-5
|
0-2
|
0-1
|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
2-3
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
4-5
|
3
|
4
|
5
|
6
|
7
|
6-7
|
4
|
5
|
6
|
7
|
8
|
8-36
|
5
|
6
|
7
|
8
|
9
|
ตารางการแปลผล
กลุ่ม
|
ระดับความเครียด
|
1
|
สุขภาพจิตดีมาก
|
2,3,4
|
ปกติ
|
5,6
|
เครียดเล็กน้อย
|
7,8,9
|
เครียดมาก
|
คุณภาพของเครื่องมือ ได้ทำ Construct validity, Discriminance validity โดยมีค่า Cronbach’s alpha coefficient = 0.84 และ Split-half coefficient = 0.88